มันแซง หรือมันนก ของกินที่หาได้ในป่าแค่หน้าแล้งในถิ่นอีสาน

มันแซง หรือมันนก เมื่อเข้าสู่หน้าแล้ง ที่มองไปไหนเต็มไปด้วย ใบไม้แห้งเฉา ไร้ซึ่งชีวิตชีวาไปหมดประหนึ่งชีวิต ที่ไม่มีความสดชื่น มาเติมเต็มกับชีวิตเหล่านั้นได้เลย แต่สำหรับทางภาคอีสานหน้าแล้งมักจะมาพร้อมกับ อาหารอีสานหลายอย่าง เช่น ผักหวานป่า ไข่มดแดง ซึ่งสองชื่อนี้เป็นอาหารที่ต้องบอกว่า เมื่อเข้าหน้าแล้งทีไร

คือสิ่งที่หลายคนรอคอยกันเลย แต่ยังไม่หมดเพียงเท่านั้นยัง มีพืชประเภทหัวมันอย่าง “มันแซง” หรือ มันนก ที่เป็นชื่อสากลที่รู้จักกัน ซึ่งจะหามารับประทานได้ เพียงแค่หน้าแล้งเท่านั้น สำหรับในภาคอีสาน หลายคนสงสัยแล้วว่ามันแซงเป็นแบบไหน แล้วทำไมหาได้ แค่ช่วงหน้าแล้งเท่านั้น แล้วเอามาทำอะไรทานได้บ้าง มาหาคำตอบความอร่อยไปพร้อม ๆ กัน

เดี๋ยวนี้เวลาพูดถึง “มัน” หลายคนก็นึกถึงเพียงแค่มันเทศ และมันฝรั่งกันเป็นส่วนใหญ่ จนอาจลืมไปว่าเรายังมี “มันพื้นบ้าน” หรือ “มันป่า” อีกหลายชนิดที่ทั้งอร่อย และมีประโยชน์ต่อสุขภาพไม่น้อย ฤดูหนาวครานี้กรีนเนอรี่ จึงอยากชวนคุณไปทำความรู้จัก กับเหล่ามันพื้นบ้านกัน เพื่อให้เจ้ามันเหล่านี้กลับมามีพื้นที่ยืนในใจ และในสำรับอาหารของคนไทยเช่นวันวาน

มันแซง หรือมันนก เป็นพืชตระกูลมันเถาวัลย์ ที่เกิดตามป่าทั่วไป เหมือนกับหัวกลอย ที่หลายคนคุ้นเคยเพียงแต่มีหัว ที่มีขนาดเล็กกว่าหัวกลอยมาก แต่จะมีรสชาติที่ออกมัน และไม่มีพิษเจอปน เหมือนกับหัวกลอย เพราะเหตุนี้ มันแซง จึงสามารถที่จะนำมาทำ เป็นของหวานได้ เหมือนกับมันทั่วไป ที่ไม่ต้องผ่านกระบวนการ ทำให้พิษหมดไปเหมือนกับ หัวกลอย ลักษณะของ มันแซง จะเป็นเถาวัลย์เลื้อยไป ตามพุ่มไม้ ต้นไม้ขนาดเล็กที่ต้องบอกว่า จะหาเจอต้องใช้ความสามารถ ในการสังเกต และความชำนาญ ไม่น้อยเลยทีเดียว

ของอร่อยหากินยาก 1ปี มี1ครั้ง เป็นการทำเกษตรที่มีรายได้อย่างนึ่งซึ่ง สามารถนำพันธุ์ไปปลูก เพื่อขยายพันธ์ หรือหัวนำไปรับประทาน

มันอ่อนมีจำหน่าย ในท้องตลาดใน ราคา 60-80 บาท/กิโลกรัม

ลักษณะ มันอ้อนเป็นไม้เลื้อย ออกหัวใต้ดิน ส่วนเถาจะไต่ขึ้นไปตามต้นไม้ เเละช่วงเวลาที่ดีที่สุดสำหรับการเก็บมันอ้อน คือช่วงปลายฝนต้นหนาว เพราะเป็นช่วงเวลามันอ้อนจะเเก่เต็มที่เหมาะกับการนำมาทำอาหาร

มันป่าบางชนิดมีพิษ แต่กินได้ถ้ารู้วิธีสิ่งที่ทำให้เกิดพิษในมันป่าคือ สารเมือกโปรตีนที่บางคนอาจแพ้ มันป่าบางชนิดมีออกซาเลท (oxalate) ที่ทำให้เกิดการระคายเคืองในเนื้อเยื่ออ่อน บางชนิดมีสารยับยั้งการดูดซึมอาหาร (anti-nutrient) และมีสารก่อพิษชื่อ ไดออสคอรีน ซึ่งสารพิษดังกล่าวสามารถทำให้เป็นอันตราย ถึงชีวิตได้ ดังนั้นผู้ที่ต้องการบริโภค

มันป่าจึงต้องรู้วิธีเตรียม และปรุงให้เหมาะสมเพื่อขจัดพิษ ที่มีออกให้หมดก่อนบริโภค จึงจะปลอดภัย นอกจากนี้คือไม่ควรกินมันป่าดิบ ๆ ควรบริโภคสุกเท่านั้นเพื่อความปลอดภัย เพราะความร้อนจะช่วยทำลายสารพิษในมันลงได้

การตามหามันแซงต้องขุดดินลงไป ประมาณ 30 เซนติเมตร เพื่อหามันแซงแสนอร่อย บาคาร่าออนไลน์ 88 ซึ่งอย่างที่บอกว่าขนาดหัวมันนั้น จะเล็กแต่หากเจอเถาวัลย์ที่มีอายุมากกว่า ปีละก็จะเจอหัวที่ใหญ่กว่าปกติเหมือนกัน มันแซงจะเติบโต ในช่วงหน้าฝนหัวของมันแซงจะเกิดจาก เถาวัลย์ที่เลื้อยไปตามพื้น แล้วเกิดรากลงไป ในดินจนกลายเป็นหัวมันแซง ส่วนเถาวัลย์ของมันแซง

ก็จะเลื้อยตามต้นไม้พุ่มไม้เพื่อหา อาหารไปบำรุงหัวมันที่อยู่ใต้ดิน ทำไมถึงหาได้แต่ตอนหน้าแล้ง? เพราะว่าหน้าแล้วจะเป็นการเก็บน้ำจากเถาวัลย์ ลงไปที่หัวเพื่อให้หัวอยู่รอด จึงทำให้อุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหารที่เป็นแป้ง เกิดคำถามว่าแล้วไปขุดหัวมา จะไม่ตายหมดเหรอ? ก็อย่างที่บอกไปแต่ต้นเมื่อฝนตกลงมา เถาวัลย์จะได้รับความชุ่มชื่น แล้วเกิดรากลงไป ในดินกลายเป็นหัวมันแซงถ้าเถาวัลย์ ไม่ลงสู่ดินก็จะทำให้เถาวัลย์นั้น ยืนต้นตายนั่นเอง

แล้วเอาไปทำอะไรทานได้บ้าง? ปกติแล้วก็จะเอามานึ่งกินเปล่า ๆ หรือจะเพิ่มความหวานด้วยการโรยน้ำตาล ด้วยก็ได้ แต่บางที่ก็จะเอาไปทำบวชมันนก ซึ่งก็จะเหมือนกับกล้วยบวชชีนี่แหละ แต่แถวบ้านกระผมนี่ ไม่ชอบความยุ่งยากซักเท่าไหร่เลย แค่เอาล้างน้ำปอกเปลือกล้างน้ำ เอายางออกอีกทีนึ่งจนสุก แล้วนำมาใส่จานโรยด้วยน้ำตาล คลุกงาคั่วหอม ๆ  เท่านี้ก็อร่อย หวาน มัน เกินบรรยายแล้ว ใครกลับบ้านสงกรานต์ ก็อย่าลืมถือเสียมเข้าป่า ไปหามารับประทานกันนะ หรือจะเอามาฝากเพื่อนที่ทำงาน เป็นของฝากที่ล้ำค่าหากินได้ เพียงปีละครั้งเท่านั้นนะจะบอกให้

แม้ว่ามันแซงในบางพื้นที่ สล็อตkingdom จะสามารถที่จะเพาะปลูกได้ ไม่ต้องไปขุดตามหา แต่เชื่อเถอะว่าการได้ออกไป ตามป่าไปเจอสิ่งที่ตามหา เวลาที่หามาได้แล้วนำมา ทำรับประทานนั้น ความอร่อยจะคูณสอง เพราะมันเป็นสิ่งที่เราไม่ได้ เสียเงินซื้อสามารถที่จะหาได้ ด้วยความสามารถของเรา มันทั้งอร่อย ทั้งภูมิใจเลยนะ

เอกลักษณ์ของมันป่ามันพื้นบ้าน คือ หากเป็นมันเนื้อขาวจะมีเนื้อเนียนแน่น กว่ากลุ่มที่มีเนื้อสีม่วงซึ่งเนื้อในมักจะพุ ทว่าสิ่งที่มักจะเจอเหมือนกัน คือเนื้อมันมักจะมีเมือกลื่น ๆ รสชาติของมันออกแนวจืด มัน หากมีรสหวาน ก็จะเป็นรสหวานอ่อน ๆ คนไทยสมัยก่อนจึงนำมาต้ม หรือนึ่งสุกจิ้มน้ำตาล นำไปปรุงเป็นขนมหวานเช่น แกงบวด หรือมันบางชนิดก็นำไปปรุง ในอาหารคาวประเภทต้มแกงแบบพื้นบ้านได้ เอาหละว่าแล้วไปทำความรู้จัก กับสารพันมันป่ามันพื้นบ้าน ที่นำมาฝากกันเลย

Leave a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *

Scroll to Top